Mettavalokanaya | The Aspiration of Metta Enlighten the Minds
  • Home
  • Magazine
    • Mettavalokanaya Magazine
    • Bhikkhunis Magazine
  • Distribution
    • Mettavalokanaya Worldwide
      • To China
    • Mettavalokanaya to VVIP
  • Special
    • Buddhist Monks & Nuns
    • Buddhist Temples
    • International Buddhist Organizations
    • Buddhist News
    • Buddhist Videos
    • Upcoming Events
    • Sponsors
  • Buddhism
    • Buddhist Chanting (Pirit)
    • Buddhist Meditation
    • Buddha Quotes
    • Buddhist Articles
    • Buddhist Talks
    • Buddhist Thoughts
    • Buddhist Songs
    • Buddhist Arts
  • Awards
    • World’s Best Buddhist Magazine Award – 2018
  • About
    • About Mettavalokanaya
    • Our Vision & Mission
    • Founder, Chairman & Chief Editor
    • Executive Management
    • Our Registrations
  • Contact
  • Menu

Wat Arun, Ratchawararam Ratchaworawihan, Bangkok, Thailand

wat_arun_ratchawararam_ratchaworawihan_mettavalokanaya_18

Most Venerable Phra Dhamrattanadilok Maha Thero (Somkiat Kovido Pali Grade IX), The Chief Abbot of Wat Arun, Ratchawararam Ratchaworawihan, Thailand, A board member of the Sangha Supreme Council, Acting the Ecclesiastical Regional Governor IX. Phra Dhammarattanadilok has former name “Somkiat”, ordination name “Kovido” and Surname “Puttapak”. He was born in 1943, at Lerngfaek Sub-district, Borabue district in Maha Sarakham Province. He became a novice at Ampawanhuaykhaen Temple, Maha Sarakham Province, in 1956.  Later he became a monk at Napho Temple, also in Maha Sarakham Province, in 1965.

After that he travelled to study the Pali language in a lot of places until he graduated with the ninth level of Pali, that is the highest education of Sangha in Thailand. He was appointed as the abbot of Wat Arunrachawararam (the temple of dawn) at Bangkok Yai district in Bangkok since 2018, and a board member of the Sangha Supreme Council of Thailand in 2019. Nowadays, he devotes himself to Buddhism by practicing as the Abbot of Arun Temple and as a senior executive of the Thai clergy. More importantly, he is a great teacher who is kind-hearted to people of all races and religions with determination, at the age of 76 years.

Knowledge about Wat Arun Ratchawararam Monarch Rattanakosin identity Beautiful with stories, history and architectural art Should be worth the pride of every Thai person. If mentioning “Wat Arun” or “Wat Arun Ratchawararam “We believe that many people should know well. Because of the architectural beauty that cannot be evaluated It also stands out as a magnificent waterfront on the Chao Phraya River. Became a symbol of beauty to the world and an important temple for a long time Today we take the opportunity to take friends to see the beauty and get to know the Temple of Dawn. Monarch More

01. Wat Arun is a royal monastery Kind of monarch Means the monastery at the king Queen Crown Prince Created or restored as a part Located in Wat Arun Bangkok Yai District, Bangkok 02. Wat Arun is an ancient temple that dates back to the Ayutthaya period, formerly known as “Olive Temple” but when the reign of King Taksin the Great With the intention of relocating the capital to Thonburi by marching into the river And arrived in front of the olive temple Therefore changed the name to “Wat Chaeng” until the reign of King Rama I, the reign of King Rama I, ascended the throne. But not yet completed He died King Buddha Lertlapa Napalai, King Rama II, then proceeded to complete the restoration. By giving the name of that temple “Wat Arun Ratchawararam” and became the temple of His Majesty’s reign

03. Phra Prang Yai, Wat Arun Regarded as the most elegant and outstanding art Constructed by skilled craftsmen On the Phra Prang decorated with glazed porcelain and benjarong crockery imported from China Which has a beautiful pattern that is old and rare Which has been restored until the reign of King Rama V 04. The area around Phra Prang Yai, Wat Arun Consists of 4 small prangs around 4 directions. Inside, there is a statue of Indra, Erawan elephant. The boundary wall has 3 taksin bases. There are devil statues and swords carrying the base alternately. In addition, there are 4 kiosks with Narai avatars. Above is the top of the pagoda. There is a goddess Norasing to defeat the giant.

05. At present, the temple of Phra Arun Has undertaken major renovations again since about 24 September 2013 and has successfully completed After experiencing the problems of the pagoda, it has been heavily deteriorated. And prepare for a grand celebration on 27 December 2017 to 5 January 2018. For more information, please visit “Phra Arang Temple, Arun Completed renovations Ready to organize a great ceremony. 06.For tourists who want to visit Phra Arang Temple at Arun Should dress modestly and use caution when walking Because the stairs are quite high and steep And some periods are quite narrow Including should not touch or do anything that will cause damage to the whole pagoda.

When Ego Malaya was ordained as the first novice at the beginning of the year In 2007, the first time the ego contacted was … Vat Songtham Kanlayani … but with care Schedule of temples as a cause to be clear to the monks, novices and saints, to a monastery of nuns in the north And finally, the ego had a need to return to the new ordination ceremony at Wat Songtham Kanlayani If considering the justification and reason, then I must say that because I am eager to make merit together with the group of the Vat Songtham people before Importantly, both the monk, Voramai, Phibin, Singha or Luang Ya, and Luang Mae Thammanandha Phikunun, all of whom were followers of Luang Pho Wat Pak Nam.

The day that the ego came to Vat Songtham Kalayanee Ego saw the shrine of King Taksin, located at the top of the fence on the left side of the “church”, which was wondering what to do with the temple. Later he learned that Luang Ya wrote a book about “Who killed the Lord Tak” and also respected King Taksin as much as he sacrificed his own happiness to restore the independence of the country indefinitely … as a result, the ego was inspired to Write the story of “Wat Arun, Rachawararam”, which is related to the Lord Taksin towards Buddhism, presented here.

Arunratchawararam Temple Is an ancient temple built since the Ayutthaya period Located on the west side of the Chao Phraya River, formerly known as “Olive Temple”, named after Tambon Bang Makok, which is the temple district. Later changed to “Olive Temple outside” because there is a new temple built in the same district But deep in the Bangkok Yai Canal “Olive Temple in” later in 2310 when King Taksin the Great His Majesty intends to move the capital to Thonburi, therefore, athletics down the road. Breeze to the front of the olive grove outside this time when dawn is fit. Therefore, changed the name of the Olive Temple to “Wat Chaeng” to commemorate the vision that had arrived at this temple at dawn.

This name “Wat Chaeng” has the subject of Somdej. Phraya Damrong Rajanuphab, His Majesty the King Phraya Narisara Department Niwatthi Wong said “I used to see the map of Thonburi in France when King Narai’s reign. In the map, there are only Wat Liab and Wat Chaeng. At that time it was also a large fortress. Which is around the Queen’s School Therefore, Wat Pho is a temple built upon the arrival of King Narai. Wat Arun Ratchawararam is an ancient temple from the time of Ayutthaya. Formerly known as Olive Temple (Called by the name of the district location) told that King Taksin the Great had the intention to move the new capital to Thon Buri. He therefore went through the wind. Continue along the Chao Phraya River to the front of the Olive Temple when dawn. Therefore, there was a royal initiative that It is auspicious. Then he ascended from the royal throne to pay homage to the pagoda. (The old prang Phra)

Afterwards please to restore the temple And renamed it Wat Chaeng, to commemorate the auspicious occasion While building a palace on the west bank of the Chao Phraya River If later the palace area was extended further to the temple area as a result, the temple declared the status of a royal monastery in the palace during the Thonburi period. When King Rama I visited the Great Buddha, please to build a new royal palace on the east side of the Chao Phraya River, Wat Chaeng is no longer a royal temple in the palace area. Wat Chaeng has been continuously renovated, respectively. Until in the reign of King Phra Loetlapa Napalai, he was given a new name according to the original meaning that “Wat Arun Ratchawararam” then was raised as “The royal monastery of the great monarchy” and became the second reign temple at a later time.

เกร็ดประวัติวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร ชั้นและตำบลที่ตั้งวัด

วัดอรุณราชวรารามเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา และฟากตะวันออกของถนนอรุณอมรินทร์ ระหว่างคลองนครบาลหรือคลองวัดแจ้งกับพระราชวังเดิม ตำบลวัดอรุร อำเภอบางกอกใหญ่ จังหวัดธนบุรี เป้นวัดโบราณสร้างมาแต่ครั้งสมัยอยุธยา เดิมเรียกว่า “วัดมะกอก” ภายหลังเปลี่ยนเป็นวัดมะกอกนอก แล้วเปลี่ยนเป็น วัดแจ้ง วัดอรุรราชธาราม และวัดอรุณราชวราราม โดยลำดับ ปัจจุบันเรียกชื่อว่า “วัดอรุณราชวราราม”

ชื่อวัด

มูลเหตุที่เรียกชื่อวัดนี้แต่เดิมว่า “วัดมะกอก” นั้น ตามทางสันนาฐานเข้าใจว่าคงจะเรียกคล้อยตามตำบลที่ตั้งวัด ซึ่งสมัยนั้นมีชื่อว่า “บางมะกอก” (เมื่อนำมาเรียกรวมกับคำว่า “วัด” ในตอนแรกๆคงเรียกว่า “วัดบางมะกอก” ภายหลังเสียงหดลงคงเรียกสั้นๆว่า “วัดมะกอก” ) ตามคติเรียกชื่อวัดของไทยสมัยโบราณ เพราะชื่อวัดที่แท้จริงมักจะไม่มี จึงเรียกชื่อวัดตามชื่อตำบลที่ตั้ง เช่น วัดบางลำพู วัดปากน้ำ เป็นต้น ต่อมาเมื่อได้สร้างวัดขึ้นอีกวัดหนึ่งในตำบลเดียวกันนี้ แต่อยู่ลึกเข้าไปในคลองบางกอกใหญ่ ชาวบ้านเรียกชื่อวัดที่ตั้งใหม่ว่า “วัดมะกอกใน” แล้วเลยเรียกวัดมะกอกเดิมซึ่งอยู่ตอนปากคลองมะกอกใหญ่ว่า “วัดมะกอกนอก” เพื่อให้ทราบว่า เป้นคนละวัด

ส่วนที่เปลี่ยนเป้นเรียกว่า “วัดแจ้ง” นั้น เล่ากันเป้นทำนองว่า เมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีได้ทรงกอบกู้กรุงศรีอยุธยา สำเร็จเรียบร้อย ใน พ.ศ. ๒๓๑๐ แล้ว มีพระราชประสงค์จะย้ายราชธานีมาตั้ง ณ กรุงธนบุรี จึงเสด็จกรีฑาพลล่องลงมาทางชลมารค พอถึงหน้าวัดนี้ ก็ได้อรุณหรือรุ่งแจ้งพอดี ทรงพระราชดำริเห็นเป็นอุดมมหามงคลฤกษ์ จึงโปรดให้เทียบเรือพระที่นั่งที่ท่าน้ำ เสด็จขึ้นไปทรงสักการบูชาพระมหาธาตุ ขณะนั้นสูงประมาณ ๘ วา ซึ่งประดิษฐานอยู่ริมฝั่งแม่น้ำหน้าวัด แล้วเลยเสด็จประทับแรมที่ศาลาการเปรียญใกล้ร่มโพธิ์ ต่อมาได้โปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดแล้วเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “วัดแจ้ง” เพื่อให้เหมาะสมกับเหตุการณ์ ชื่อ “วัดแจ้ง” นี้มีเรื่องสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทูลสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ไว้ว่า “หม่อมฉันเคยเห็นแผนที่เมืองธนบุรีที่ฝรั่งเศสทำเมื่อรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์ฯ ในแผนที่นั้นมีแต่วัดเลียบ กับวัดแจ้ง แต่วัดโพธิ์หามีไม่ ตรงที่วัดพระเชตุพนเวลานั้นยังเป็นชานป้อมใหญ่ ซึ่งอยู่ราวโรงเรียนราชินี เพราะฉะนั้นวัดโพธิ์เป้นวัดสร้างเมื่อล่วงรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์ฯ มาแล้ว

จากหลักฐานนี้ทำให้เห็นได้ชัดว่า วัดแจ้งนั้นมีมาก่อนที่สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจะทรงย้ายราชธานีมายังกรุงธนบุรีตามเรื่องที่ได้กล่าวมาแล้ว และชาวฝรั่งเศสผู้ทำแผนที่เมืองธนบุรีในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชนั้น ก็คือ เรือเอก เดอ ฟอร์บัง (Claude de Forbin) กับนายช่าง เดอ ลามาร์ (de Lamare) ซึ่งต่อมาเดอ ฟอร์บังนั้น ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น ‘ออกพระศักดิสงคราม มีตำแหน่งเป็นผู้บังคับป้อมและเป็นเจ้าเมืองที่บางกอกด้วย อันเป็นบำเหน็จความชอบสำคัญ เพราะว่ายศบรรดาศักดิ์นี้ก็เทียบเท่ากันกับชั้นจอมพลของประเทศฝรั่งเศส ราชทินนามนี้แปลว่า ‘เทพเจ้าซึ่งมีแสงสว่างและชำนาญในการสงคราม เรือเอก เดอ ฟอร์บัง (Claude de Forbin) และนายช่าง เดอ ลามาร์ (de Lamare) นั้น ได้เดินทางเข้ามาถึงกรุงศรีอยุธยา เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๒๒๘ พร้อมกับคณะราชทูตและคณะบุคคลอีกหลายท่าน เชอวาลิเอร์ เดอ โชมองต์ เป็นราชทูตและผู้บัญชาการกระบวนเรือรบหลวง ซึ่งพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ กษัตริย์กรุงฝรั่งเศส ทรงแต่งตั้งมาเจริญทางพระราชไมตรีกับสมเด็จพระนารายณ์มหาราช

การปฏิสังขรณ์วัดที่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ ได้ทรงกระทำมาตั้งแต่ครั้งยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร และยังประทับอยู่ที่พระราชวังเดิม(๓) นั้น ได้สำเร็จลงในต้นปีมะโรง พ.ศ.๒๓๖๓ พระองค์จึงโปรดเกล้าฯ ให้มีการฉลองแล้วพระราชทานชื่อใหม่ว่า “วัดอรุณราชธาราม”(๔) ถึงรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์เพิ่มเติมอีก แล้วทรงเปลี่ยนชื่อวัดเป็น “วัดอรุณราชวราราม” ดังที่เรียกในปัจจุบันนี้ เขตวัดและที่ธรณีสงฆ์ เขตวัด เฉพาะตอนที่เป็นพุทธาวาสและสังฆาวาส มีดังนี้ ทิศเหนือจดกำแพงวัดด้านเหนือ หลังโรงเรียนประถมทวีธาภิเศก ทิศใต้จดกำแพงพระราชวังเดิม ทิศตะวันออกจดฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา และ ทิศตะวันตกมีกำแพงวัดติดถนนอรุณอมรินทร์ ป็นเนื้อที่ ๒๗ ไร่ ๒ งาน ๖๓ วา

ที่ธรณีสงฆ์ ซึ่งทางวัดให้เอกชนเช่า มีอยู่ทางด้านเหนือตอนที่ติดกับกำแพงวัดหลังโรงเรียนประถมทวีธาภิเศก ริมคลองนครบาลหรือคลองวัดแจ้ง เป้นเนื้อที่ประมาณ ๓ งาน ๗๗ วาเศษ กับที่ทางด้านตะวันตกของถนนอรุณอมรินทร์ออกไปมีเนื้อที่ ๓๓ ไร่ ๒ งาน ๒๕ วา ผู้สร้างและปฏิสังขรณ์วัด สมัยกรุงศรีอยุธยา ไม่พบหลักฐานว่าใครเป็นผู้สร้างวัดในสมัยโบราณ ตามหลักฐานเท่าที่ปรากฏมีเพียงว่า เป็นวัดที่สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีมาก่อนรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ.๒๑๙๙ – ๒๒๓๑) เพราะมีแผนที่ซึ่งชาวฝรั่งเศสทำขึ้นไว้เป็นหลักฐานดังกล่าวมา ในวัดนี้เอง ยังมีพระอุโบสถและพระวิหารของเก่าอยู่ ณ บริเวณหน้าพระปรางค์ ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งสันนิษฐานว่า เป็นฝีมือช่างสมัยอยุธยา(๑)

สมัยกรุงธนบุรี เมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี โปรดให้ย้ายราชธานีจากกรุงศรีอยุธยามา ณ กรุงธนบุรี ในปี พ.ศ.๒๓๑๑ โดยทรงพระราชดำริว่ากรุงศรีอยุธยา “เป็นเมืองใหญ่กว้าง ทั้งพระราชวังก็มีปราสาทสูงใหญ่ถึง ๕ องค์ และวัดวาอารามก็ล้วนแต่ใหญ่โต เมื่อบ้านเมืองถูกพม่าข้าศึกและพวกทุจริต เอาไฟจุดเผาเป็นอันตราย (๑) ดู – สาส์นสมเด็จ ภาค ๑ องค์การค้าของคุรุสภา พิมพ์เมื่อ พ.ศ.๒๕๐๕ หน้า ๔๒ และมูลเหตุที่สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงตั้งสถานที่ที่เรียกว่า “พระราชวังเดิม” เป็นพระราชวังขึ้นนั้น ก็คงจะเป็นเพราะสถานที่ตรงนี้เป็นตัวเมืองธนบุรีอยู่แล้ว ความจริง ตัวเมืองธนบุรีเดิมทีเดียวนั้น อยู่ตรงปากคลองบางหลวง ซึ่งเป็นทางแยกไปปากน้ำท่าจีน ตรงวัดคูหาสวรรค์ หรือที่เรียกว่า วัดศาลาสี่หน้า(๒) แต่ครั้นคลองลัดแม่น้ำเจ้าพระยาที่สมเด็จพระเจ้าไชยราชาธิราช (พ.ศ.๒๐๕๗ – ๒๐๗๐) โปรดให้ขุดตั้งแต่ปากคลองบางกอกน้อยเดี๋ยวนี้ มาถึงปากคลองบางกอกใหญ่หรือคลองบางหลวง น้ำในคลองลัดกัดตลิ่งพังกว้างออกไปทุกที จนกลายเป็นแม่น้ำ (ตอนหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผ่านหน้าวัดระฆังโฆสิตาราม พระบรมมหาราชวังและวัดอรุณราชวราราม) จึงได้ย้ายตัวเมืองมาอยู่ตรงที่ซึ่งเป็นพระราชวังเดิมปัจจุบันนี้

(๑) ดู – ตำนานกรุงเก่า ของพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) พิมพ์เมื่อ พ.ศ.๒๕๐๓ หน้า ๑๔-๑๕ (๒) ดู – เรื่องภูมิศาสตร์สยาม ของกรมตำรา กระทรวงศึกษาธิการ พิมพ์เมื่อ พ.ศ.๒๔๖๘ หน้า ๘๖ เมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงสร้างพระราชวังใหม่นั้น ได้ทรงเอากำแพงป้อมวิชัยประสิทธิ์ข้างฝั่งตะวันตกเป็นที่ตั้งตัวพระราชวัง แล้วโปรด “ให้ขยายเขตกั้นเป็นพระราชวังถึงคลองนครบาล (คลองวัดแจ้ง) เพราะฉะนั้น วัดแจ้งจึงตกเข้ามาอยู่กลางพระราชวัง เป็นการยกเว้นเลิกไม่ให้พระสงฆ์อยู่อาศัย เขตพระราชวังตะวันตกจดวัดโมลีโลกย์ ซึ่งเป็นตลาดท้ายสนม เรียกว่า วัดท้ายตลาด ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ระยะ ๑๕ ปีนั้น ได้ทรงปฏิสังขรณ์พระอุโบสถ และพระวิหารเดิมของวัดแจ้ง ให้บริบูรณ์ดีขึ้นตามที่จะทำได้” (๑)

การที่สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงสร้างพระราชวังและขยายเขตพระราชฐานจนถึงกับเอาวัดแจ้งเป็นวัดภายในพระราชวังนั้น คงจะทรงถือแบบอย่างพระราชวังในกรุงศรีอยุธยา ที่มีวัดพระศรีสรรเพชญ์อยู่ในพระราชวัง การปฏิสังขรณ์วัดเท่าที่ปรากฏตามหลักฐานในพระราชพงศาวดาร ก็คือ ปฏิสังขรณ์พระอุโบสถและพระวิหารของเก่าที่อยู่หน้าพระปรางค์ กับโปรดให้สร้างกำแพงพระราชวังโอบล้อมวัดดังกล่าว และในระยะต่อมาก็คงจะได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์ถาวรวัตถุอื่น ๆ อีก เพื่อให้สมกับที่เป็นวัดภายในพระราชวัง แต่ไม่ปรากฏรายการว่าได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์หรือก่อสร้างสิ่งใดขึ้นบ้าง

– Mettavalokanaya Magazine is a registered Magazine in Sri Lanka with International Standard.
– Registered at Department of National Archives in Sri Lanka – 424551/05/01/2016
– Registered at National Intellectual Property Office of Sri Lanka – ACT NO.36 OF 2003 – Class 16/179486
– Registered at Department of the Provincial Registrar of Business for Western Province in Sri Lanka – W/ATH/L/10474
– Registered at Department of Post in Sri Lanka – QD/205/News/2017
– Registered at International Standard Serial Numbering Project – (ISSN) – 2345-9093 / BAR CODE – 9 772345 909003

“Mettavalokanaya”,
Mettavalokana Buddhist Publications Centre,
No.104/E, Attanagalla Road, Walpola, Rukgahawila, Sri Lanka.
Voice : + 94 777 551666
Fax : + 94 3322 81257
E-mail : mettavalokana@gmail.com

Visitors Counting




© 2020 - Mettavalokanaya | The Aspiration of Metta Enlighten the Minds
  • Facebook
  • Youtube
  • Twitter
  • Mail
  • Instagram
  • Flickr
  • Pinterest
  • Vimeo
  • Reddit
  • Behance
  • Dribbble
  • Tumblr
Scroll to top